Meteoritical Bulletin Database in Thailand : บันทึกประวัติศาสตร์ อุกกาบาต ตกในประเทศไทย

 
   Meteoritical Bulletin Database in Thailand :
   บันทึกประวัติศาสตร์ อุกกาบาต ตกในประเทศไทย
 
 
 
อุกกาบาต (Meteorites) หรืออีกความหมายคือ แร่ของดาว มีอุกกาบาตตกลงสู่
พื้นโลกจากยุค ดึกดำบรรพ์ ถึงปัจจุบันแล้วจำนวน 30,000 วัตถุ (ตัวเลขสำรวจ
อย่างเป็นทางการ)

นักวิทยาศาสตร์และนักโบราณคดี พบว่า ในทวีปแอตตาร์ติคการ์ 24,000 วัตถุ
ในทะเลทรายซาฮาร่า 4,000 วัตถุและที่อื่นๆ ทั่วโลก 2,000 วัตถุ โดยอันที่จริง
อาจมีจำนวนมากกว่านี้อีกหลายเท่า แต่การค้นหาพิสูจน์ทราบเป็นเรื่องยากและ
ลำบาก เช่น บางส่วนอาจตกลงในมหาสุมทร แอ่งน้ำขนาดใหญ่ จมลึกหายไป
กับท้องน้ำ บางส่วนตกลงบนภูเขา เมื่อนานเข้านับร้อยปี อุกกาบาตนั้นได้ทำ
ปฎิกิริยาทางเคมีกับ หิน-แร่ ของโลก ท่ามกลางสภาพอากาศกัดเซาะและซึม
เป็นเนื้อเดียวกัน ยิ่งทำให้ตรวจสอบยากขึ้น เป็นต้น

อย่างไรก็ตาม ในประเทศไทย ก็มีการพบอุกกาบาต เช่นกัน โดยมีการประกาศ
อย่างเป็นทางการ (Meteoritical Bulletin Database) จากฐานข้อมูลของ The
Meteoritical Society (สมาคมอุกกาบาต)

โดยสมาคมดังกล่าว จัดตั้งขึ้นด้วยกองทุนบริจาค เมื่อปี ค.ศ. 1933 มีนโยบาย
ไม่มุ่งหวังทางด้านการค้า จุดประสงค์ศึกษา วัตถุดิบที่มากจากโลกอื่น (Study
of extraterrestrial materials) รวมทั้งอุกกาบาต สิ่งของที่เก็บเป็นตัวอย่าง
จากอวกาศ มีสมาชิกเป็นนักวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นที่ยอมรับ 950 คน และอาสา
สมัครจากทั่วโลก 33 ประเทศ ซึ่งมีความสนใจ ในเรื่องแร่ของดาว ฝุ่นอวกาศ
ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง ดาวเคราะห์ ดวงจันทร์ ที่อยู่ในระบบสุริยะ

ดังนั้นข้อมูลจากการประกาศ ซึ่งถูกรวบรวมแฟ้มประวัติโดย The Meteoritical
Society จึงเป็นที่ยอมรับอย่างเป็นทางการทั่วโลก ซึ่งอุกกาบาตที่พบในพื้นที่
ประเทศไทย และได้ถูกตรวจสอบจากห้องปฎิบัติการ ตามขบวนการและแบบ
แผนที่ถูกต้อง มีประกาศบันทึกไว้ 4 รายการคือ

ปี 1923 (พ.ศ. 2466)
---------------------
ชื่อ อุกกาบาต นครปฐม (ตำบล ดอนยายหอม)
วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2466 เวลาประมาณ 21.00 น.
จัดอยู่ในประเภท L6
น้ำหนักครั้งแรกที่พบ 23.2 กิโลกรัม (จำนวนตัวอย่าง 1 ชิ้น)
การพบ พบจากการตก
บันทึกข้อมูล ตำแหน่งที่พบห่างจากเมืองนครปฐม ไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้
ประมาณ 10 กม.
ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่ พิพิธภัณฑ์แห่งชาติ
--------------------------------------------------------------------------------------

ปี 1975 (พ.ศ. 2518)
---------------------

ชื่อ อุกกาบาต บ้านช่อแล (จังหวัดเชียงใหม่)
วันที่ -- กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 เวลาประมาณ ---- น.
จัดอยู่ในประเภท H5
น้ำหนักครั้งแรกที่พบ 3.35 กิโลกรัม (จำนวนตัวอย่าง 1 ชิ้น)
การพบ พบในป่ารก
บันทึกข้อมูล ได้รับการประกาศรับรองเมื่อ 29 มกราคม พ.ศ.2552
ปัจจุบันเก็บรักษาไว้ที่ Jack Schrader เป็นจำนวนส่วนใหญ่และนำออก
จำหน่ายเป็นชิ้นเล็กๆ
--------------------------------------------------------------------------------------

ปี 1981 (พ.ศ. 2524)
---------------------

ชื่อ อุกกาบาต เชียงคาน (จังหวัดเลย)
วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2524 เวลาประมาณ 05.30 น.
จัดอยู่ในประเภท H6
น้ำหนักครั้งแรกที่พบ 367 กรัม (จำนวนตัวอย่าง 31 ชิ้น)
การพบ พบจากการตก
บันทึกข้อมูล หลังจากเกิดลูกไฟ (Fireball) สว่างเหนือท้องฟ้า และเสียงระเบิด
สามารถเก็บได้ 31 ชิ้น บริเวณชายแดน ไทย-ลาว ชิ้นใหญ่สุดมีน้ำหนัก 51.3 กรัม
ปัจจุบัน เก็บรักษาไว้ที่ --------------
--------------------------------------------------------------------------------------

ปี 1993 (พ.ศ. 2536)
---------------------

ชื่อ อุกกาบาต บ้านร่องดู่ (จังหวัดเพชรบูรณ์)
วันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2536 เวลาประมาณ 20:30 น.(12.30 UT)
จัดอยู่ในประเภท Iron, ungrouped
น้ำหนักครั้งแรกที่พบ 16.7 กิโลกรัม (จำนวนตัวอย่าง - ชิ้น)
การพบ พบจากการตก
บันทึกข้อมูล มีเศษทราย (Sandy soil) ฝังในหลุมบริเวณก้นวัตถุ, ขณะตก
สังเกตเห็นลอยจากมุมสูงชันบนท้องฟ้า จากทิศตะวันตกเฉียงใต้
ปัจจุบัน เก็บรักษาไว้ที่
Mr. Saree Ragkon and Mrs. Kumla Ragkon
Dr.Prinya Putthapiban
Geological Survey Division, Department of Mineral Resources TH.
Institute of Geophysics & Planetary Physics, University of California, USA

--------------------------------------------------------------------------------------
หมายเหตุ : ภาพที่แสดงประกอบ ได้จาก Encyclopedia of Meteorites
ไม่สามารถยืนยันได้ว่าเป็นภาพที่ถูกต้องตรง อุกกาบาตนั้นๆื ของประเทศไทย
หรือไม่ ? หรือ มีการเปลี่ยนแปลงสถานที่เก็บรักษา หรือไม่ ?
 
Meteoritical Bulletin Database in Thailand
 
อุกกาบาต นครปฐม (ดอนยายหอม)
Basic information : ข้อมูลเบื้องต้น
---------------------------------------------------------------------------
 
ชื่ออย่างเป็นทางการ
 
Nakhon Pathom
 
คำย่ออย่างเป็นทางการ
 
ไม่มี
 
พบจากการตก
 
ใช่
 
ปีที่พบ
 
1923 (พ.ศ. 2466)
 
ประเทศ
 
ไทย
 
น้ำหนัก
 
23.2 กิโลกรัม
Classification history : ประเภทของประวัติ
---------------------------------------------------------------------------
 
Meteoritical Bulletin
 
MB 39 (1967) L
 
NHM Catalogue
 
5th Edition (2000) L6
 
MetBase
 
v. 7.1 (2006) L6
 
Recommended
 
       
       
 
หมายเหตุ : 1 ในจำนวน 7121 รายการ ได้รับการรับรองตามแบบแผนของ Meteorites (รวม 3 รายการที่ไม่รับรอง) ของ Classified L6
[แสดงรายการทั้งหมดของ L6]
Writeup : เขียนบรรยายข้อมูล
---------------------------------------------------------------------------
 
NAKHON PATHOM, in Don Yai Nom Subdistrict,
about 10 km SSE of the town of Nakhon Pathom,
Thailand; φ = 13°44'N, λ = 100°05'E.
FALL, December 21, 1923, about 21.00 hours.
STONY, olivine-hypersthene chondrite.
1 specimen, weight 23.2 kg,
in National Museum (Bangkok, Thailand).
References: อ้างอิงคำประกาศรับรอง
---------------------------------------------------------------------------
 
Published in Meteoritical Bulletin,
no. 39, Moscow (1967) reprinted Met. 5, 85-109 (1970)
Coordinates : ตำแหน่งพิกัด
---------------------------------------------------------------------------
 
Catalogue of Meteorites: (13° 44'N, 100° 5'E)
 
 
 
อุกกาบาต บ้านช่อแล (เชียงใหม่)
Basic information : ข้อมูลเบื้องต้น
---------------------------------------------------------------------------
 
ชื่ออย่างเป็นทางการ
 
Ban Cho Lae
 
คำย่ออย่างเป็นทางการ
 
ไม่มี
 
พบจากการตก
  ไม่ใช่
 
ปีที่พบ
 
1975 (พ.ศ. 2518)
 
ประเทศ
 
ไทย
 
น้ำหนัก
 
3.35 กิโลกรัม
Classification history : ประเภทของประวัติ
---------------------------------------------------------------------------
 
Meteoritical Bulletin
 
MB 95 (2009) H5
 
NHM Catalogue
   
 
MetBase
   
 
Recommended
 
       
       
 
หมายเหตุ : 1 ในจำนวน 6226 รายการ ได้รับการรับรองตามแบบแผนของ
Meteorites (รวม 10 รายการที่ไม่รับรอง) ของ Classified H5
[แสดงรายการทั้งหมดของ H5]
Writeup : เขียนบรรยายข้อมูล
---------------------------------------------------------------------------
 
State/Prov/County: Ban Cho Lae, Thailand
Origin or pseudonym: Jungle
Date: Feb-75
Latitude: 19°05'18.00"N Longitude: 99°00'50.00"E
--------------------------------------------------------------------------------------
Mass (g): 3354
Pieces: 1 Class: H5
Shock stage: S0
Weathering grade: W1
Fayalite (mol%): 20
Ferrosilite (mol%): 17
Wollastonite (mol%): 2
Magnetic suscept.: 5.38
Classifier:
Type spec mass (g): 23.3
Main mass: Jack Schrader
Finder: UPVI-1
References: อ้างอิงคำประกาศรับรอง
---------------------------------------------------------------------------
 
Published in Meteoritical Bulletin,
no. 95, MAPS 44, 429-462 (2009)
หมายเหตุ : รับรองเมื่อ 29 Jan 2009
Coordinates : ตำแหน่งพิกัด
---------------------------------------------------------------------------
 
Recommended: (19° 5' 18"N, 99° 0' 50"E)
 
  
 
อุกกาบาต เชียงคาน (เลย)
Basic information : ข้อมูลเบื้องต้น
---------------------------------------------------------------------------
 
ชื่ออย่างเป็นทางการ
 
Chiang Khan
 
คำย่ออย่างเป็นทางการ
 
ไม่มี
 
พบจากการตก
 
ใช่
 
ปีที่พบ
 
1981 (พ.ศ. 2524)
 
ประเทศ
 
ไทย
 
น้ำหนัก
 
367 กรัม
Classification history : ประเภทของประวัติ
---------------------------------------------------------------------------
 
Meteoritical Bulletin
 
MB 60 (1982) H6
 
NHM Catalogue
 
5th Edition (2000) H5
 
MetBase
 
v. 7.1 (2006) H6
 
Recommended
 
       
       
 
หมายเหตุ : 1 ในจำนวน 3738 รายการ ได้รับการรับรองตามแบบแผนของ
Meteorites (รวม 3 รายการที่ไม่รับรอง) ของ Classified H6
[แสดงรายการทั้งหมดของ H6]
Writeup : เขียนบรรยายข้อมูล
---------------------------------------------------------------------------
 
FALL OF THE CHIANG KHAN, THAILAND,
STONY METEORITE Name: CHIANG KHAN
Place of fall: Chiang Khan, Loei,
Thailand. 17°54'N., 101°38'E.
Date of fall: November 17, 1981, 05.30 hrs.
--------------------------------------------------------------------------------------
Class and type: Stone.
Olivine-bronzite chondrite (H6).
Olivine Fa18.
Number of individual specimens: 31
Total weight: 367 g
Circumstances of fall: After a bright fireball and detonations, 31 pieces
were recovered from the town of Chiang Khan,
on the Thailand-Laos border.
The largest fragment weighed 51.3 g.
Source: R.S. Clarke, Jr., Department of Mineral Sciences, Smithsonian
Institu­tion, Washington, D.C. 20560; Smithsonian Institution
SEAN Bulletin, 1981, 6, No. 11, p. 9.
References: อ้างอิงคำประกาศรับรอง
---------------------------------------------------------------------------
 
Published in Meteoritical Bulletin,
no. 60, Meteoritics 17, 93-97 (1982)
Coordinates : ตำแหน่งพิกัด
---------------------------------------------------------------------------
 
Catalogue of Meteorites: (17° 54'N, 101° 38'E)
 
 
 
อุกกาบาต บ้านร่องดู่ (เพชรบูรณ์)
Basic information : ข้อมูลเบื้องต้น
---------------------------------------------------------------------------
 
ชื่ออย่างเป็นทางการ
 
Ban Rong Du
 
คำย่ออย่างเป็นทางการ
 
ไม่มี
 
พบจากการตก
 
ใช่
 
ปีที่พบ
 
1993 (พ.ศ. 2536)
 
ประเทศ
 
ไทย
 
น้ำหนัก
 
16.7 กิโลกรัม
Classification history : ประเภทของประวัติ
---------------------------------------------------------------------------
 
Meteoritical Bulletin
 
MB 82 (1998) Iron-ung
 
NHM Catalogue
 
5th Edition (2000) Iron-ung
 
MetBase
 
v. 7.1 (2000) Iron-ung
 
Recommended
 
Iron, ungrouped [explanation]
       
       
 
หมายเหตุ : 1 ในจำนวน 101 ได้รับการรับรองตามแบบแผนของ Meteorites
(รวม 1 รายการที่ไม่รับรอง) ของ Iron, ungrouped
[แสดงรายการทั้งหมดของ Iron, ungrouped]
Writeup : เขียนบรรยายข้อมูล
---------------------------------------------------------------------------
 
Ban Rong Du Phetchabun, Thailand
Fell 1993 June 13, 20:30 local time (12:30 UT)
Iron, coarse octahedrite (ungrouped)
--------------------------------------------------------------------------------------
A 16.7 kg iron meteorite was collected by Mr. Saree Ragkon and Mrs.
Kumla Ragkon from the bottom of a 110 cm deep hole in sandy soil.
The meteorite was observed to fall at a steep angle, coming from
the southwest.

Classification and description (J. T. Wasson, UCLA; Prinya Putthapiban
and Sirot Salyapongse, DMRT): bandwidth, 1.9 mm; bulk Ni, 7.90 wt%;
Co, 0.572 wt%; Ga, 22.5 ppm; Ge, 54.7 ppm; As, 12.7 ppm;
Ir, 4.13 ppm; Pt, 27 ppm; see Royal Thai Dept. Min. Res. (1993).
Specimens: main mass with finder; type specimen, 4.5 g,
UCLA; ~20 g, DMRT (contact Dr. Prinya Putthapiban).
References: อ้างอิงคำประกาศรับรอง
---------------------------------------------------------------------------
 
Published in Meteoritical Bulletin,
no. 82, MAPS 33, A221-A240 (1998)
Coordinates : ตำแหน่งพิกัด
---------------------------------------------------------------------------
  Catalogue of Meteorites: (16° 40'N, 101° 11'E)

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น