Volcanic Activity : กรณีผลกระทบ จากการระเบิดของภูเขาไฟ |
| ||
เถ้าถ่านและฝุ่นหินจะลอยไปทั่วโลก หากเป็นภูเขาไฟขนาดใหญ่ระเบิด มีผลกระทบด้านสภาพอากาศและระบบนิเวศ ในวงกว้าง |
แนวเส้นและจุดแดงในแผนที่คือ ตำแหน่งการระเบิดของภูเขาไฟ ในระยะเวลา 1 ล้านปีที่ผ่านมา |
| ||
ภูเขาไฟ Kilauea ในฮาวาย |
แนวไหลของลาวา ภูเขาไฟ Kilauea |
| ||
การตรวจสอบด้วยดาวเทียม ของ NASA |
| ||
| ||
| ||
| ||
| ||
แสดงแนวกระเพื่อมของน้ำในมหาสมุทรมีอาณาเขตเป็นวงกว้างกรณีเกิดซึนามิ จาก การเคลื่อนตัวของแนวแผ่นเปลือกโลกใต้ทะเล ซึ่งเป็นเหตุต่อเนื่องจาก แรงดันใต้เปลือกโลก บริเวณภูเขาไฟ ประเทศอินโดนีเซีย |
| ||
ความเป็นไปได้ : มีโอกาสเกิด 100 % ระยะเวลาไม่สามารถทราบล่วงหน้าได้ชัดเจนและแม่นยำนัก พยากรณ์ได้ล่วงหน้าในระยะสั้นก่อนเกิด โดยสามารถประเมินสถานการณ์ขอบเขต รุนแรงที่จะเกิดขึ้นได้ ด้วยเทคโนโลยี่เราพอที่จะพยากรณ์ได้ระดับ 70-80 % ด้วยมีองค์ประกอบที่ซับซ้อน การวิเคราะห์แล้วพยากรณ์ผิดพลาดแล้วประชากร อาจตื่นตระหนก จนเกิดผลเสียหายได้ การแก้ไขเหตุการณ์ : ควรตั้งถิ่นฐานห่างจุดที่คาดว่าจะเกิด หลีกเหลี่ยงบริเวณแนวแตกของเปลือกโลก บริเวณภูเขาไฟที่ยังมีปฏิกิริยาด้านธรณีวิทยาของโลก และอพยพทันทีที่ได้รับ การแจ้งเตือนภัย แต่การเลือกตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่ปลอดภัยไม่ได้หมายความว่า จะหลีกเลี่ยงผลกระทบได้ เพราะควันหมอกของการระเบิดขนาดใหญ่จะลอยไป อย่างน้อยครึ่งโลก หรือมีการวิเคราะห์กันไว้ว่า หากเกิดระเบิดของภูเขาไฟที่ตั้งอยู่ บริเวณริมทะเล เมื่อระเบิดแล้วอาจมีแผ่นดินแยก ทำให้หินขนาดใหญ่ทั้งภูเขาหล่น กระแทกลงสู่ทะเลอย่างแรง ผลทำให้เกิดการกระเพื่อมรุนแรงของผิวน้ำก่อให้เกิด คลื่นยักษ์ซึน่ามิ กระทบสู่ฝั่งมหาสมุทรอีกฟากได้ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และสังคม : ปัจจุบันมีสถานีสังเกตการณ์เฝ้าระวังภูเขาไฟหลายแห่งในทวีปต่างๆ อย่างทั่วถึงใน ในเขตประชากรหนาแน่น แต่เราก็ยังไม่เข้าใจระบบของภูเขาอย่างชัดแจ้งในวิชา ด้านภูเขาไฟวิทยา เพราะได้เริ่มศึกษาเรื่องนี้เพียง 100 ปี ที่ผ่านมาเท่านั้น |
1 ความคิดเห็น:
ขอบคุณสำหรับความรู้ครับ
แสดงความคิดเห็น