Supernovas & Supernova Remnants : อภิมหา นิวเคลียร์จักรวาล |
| ||
| ||
| ||
|
| |||
| |||
| ||
| ||
| ||
| ||
| ||
| ||
| ||
| ||
| ||
อธิบายเพิ่มเติมถึงการแยกประเภทย่อย กาแล็คซี่ทางช้างเผือก ราวๆทุก 50 ปี ดาวมวลยักษ์ (Massive star) อย่างน้อย จำนวน 1 ดวง จะระเบิดตัวเอง แต่หากทั้งจักรวาลคงมีจำนวนน่าตกใจ และแผ่พลัง งานระเบิด เป็นรังสีเป็นแสงส่องวาว (Flash of radiation) เกิด Shock waves (คลื่นสะท้าน) คล้ายกับ Sonic booms (คลื่นที่เกิดจากวัตถุวิ่งด้วยความเร็วเหนือ เสียง) Supernova type-II จะปรากฎชัดเจนของ Hydrogen แผ่ขยายทับถมเป่าออกมา จากการระเบิดแตกกระจาย มักเกิดบริเวณที่มีแสงมาก บริเวณที่มีดาวรุ่นใหม่ เช่น บริเวณขด-วงแขน (Spiral arms) ของกาแล็คซี่ ยังไม่พบในกาแล็คซี่ประเภท รูปทรงไข่ (Elliptical galaxies) โดยมีมวลลดลงและอายุเก่าแก่เป็นส่วนสำคัญ สำหรับ Type II การระเบิดคล้ายกับ Type Ib และ Type Ic ซึ่งเกิดความหายะ จากการยุบตัวไส้แกนภายใน ของดาวยักษ์ทั้งสิ้น ส่วน Supernova type-Ia ไม่เป็นเช่นนั้น การวิเคราะห์อย่างละเอียดประเภทดัง กล่าว ต้องมีความเกียวพันกับประเภทดาว ที่จะก่อให้เกิด Supernovas และ Type Ia ระเบิดขึ้นด้วย Thermonuclear (ปฎิกิริยานิวเคลียร์ความร้อนสูง) แบบกะทันหันมีลักษณะแตกต่างกว่าทุกประเภท และเกิดจากดาวแคระขาว ด้วย การอัดเคี่ยวข้นเกาะกันของเศษซาก กลมเหมือนดวงอาทิตย์และดาวแคระขาว มีความหนาแน่น เป็นก้อนจากปฐมภูมิของ Carbon และ Oxygen atoms อย่าง มั่นคงมีเสถียรภาพของดาว จนกว่ามวลจะลดต่ำกว่า Chandrasekhar (หน่วยวัด มวลของดาวแคระขาวหรือเท่ากับ 1.4 เท่าของดวงอาทิตย์ ) จึงทำให้ดาวแคระ ขาว ระเบิดแตกออกเป็นชิ้นส่วน บางกรณี Supernova type-I แสดงลักษณะพิเศษหลายอย่างคล้าย Supernova type-II ดังนั้นจึงกำหนดประเภทให้แตกต่างกัน เป็น Type Ia -Type Ib - Type Ic |
|
|
|
Pair-Instability (จับคู่-ไร้เสถียรภาพ) Supernovas จากดาวมีมวลขนาดยักษ์ และจากกรณีอื่นๆ ของในแต่ละประเภท Supernova ที่ทำลายล้างระเบิดแตกกระจาย ถือเป็นการวิวัฒน์ของดาวในจักรวาล (Stellar evolution theory) โดยความร้อนผุดขึ้นนับพันล้านองศา จากบริเวณจุด ศูนย์กลาง มีมวลหนาแน่น 140-260 เท่าของดวงอาทิตย์ อุณหภูมิระดับดังกล่าว มักจะดำเนินการเปลี่ยนแปลง มวลไปสู่พลังงาน (E = mc2) โดย Nuclear reactions และในทางตรงกันข้าม พลังงานเปลี่ยนกลับมาเป็นมวล จากการจับคู่ของ Electrons และ Antielectrons หรือ Positrons การจับคู่ของ Electron-positron เป็นการดูดพลังงานจากไส้แกนดาว เท่ากับเกิด ก่อกวนดุลยภาพระบบดำรงชีพดาว ระหว่างความกดผลักออก (Pressure ) และ แรงโน้มถ่วงผลักเข้า (Gravity) อันปกติให้เกิดไร้เสถียรภาพ ดังนั้นการก่อให้ผล เช่นนี้เรียกว่า Pair-instability (จับคู่-ไร้เสถียรภาพ) เป็นต้นแห่งความรุนแรงให้ ระเบิดตัวจากชิ้นส่วนใหญ่ภายในออกสู่ภายนอก ท้ายที่สุดก็จะแตกกระจายอย่าง สมบูรณ์ ในสถานะคลื่นสะท้าน ด้วยปฎิกิริยานิวเคลียร์ความร้อนสูง ถ้าเกิด Pair-instability ของ Supernovas ขึ้นในจักรวาล จากดาวมวลใหญ่กว่า 260 เท่าของดวงอาทิตย์ จะเกิดการเต้นเป็นจังหวะรุนแรงของแรงโน้มถ่วงและดาว ยุบตัวเป็นหลุมดำ โดยไม่มีการระเบิด สำหรับดาว ที่มีมวลราว 200 เท่าของดวงอาทิตย์ หากเกิด Pair-instability ของ Supernovas จะเกิดกัมมันตภาพรังสี (Radioactive) ของ Nickel อย่างมากมาย ไปทั่ว แหล่งกัมมันตภาพรังสีขนาดใหญ่ ถูกเก็บรักษาเช่นนั้นในจักรวาลนับเดือน และเปลี่ยนแปลงเป็น Ultra-bright supernova (ซูเปอร์โนวา แสงเจิดจ้า) |
| ||
| ||
| ||
การแผ่รังสีนับพันปี จาก Supernovas Remnant การแผ่รังสีของ Supernova ยังมีต่อไปนับเดือนหรือนับปี หลังจากนั้นเลือนหายไป ในระหว่างนั้น มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วของการแผ่รังสี ราว 1 ล้านไมล์ต่อชั่วโมง สสารจากการระเบิด ที่ผ่านมาวิ่งไปชนกับ วงก๊าซของดาว (Circumstellar gas) การชนปะทะจึงเกิดเศษซากเล็กซากน้อย จึงเกิด Supernova remnant (เศษซาก ระเบิดของดาว) โดยมีเงื่อนไข ของก๊าซร้อนและพลังงานสูงของอนุภาค ท่วมล้นเป็นรัศมี ตั้งแต่ ระดับคลื่น Radio จนถึง X-ray มีอายุคงอยู่นับพันปี การดำเนินก่อตัวจากเศษซาก (Remnant) ดังกล่าว เป็นได้อย่างสุดขั้วเกิดคล้าย Sonic booms เมื่อผายตัวออกเกิด Shock wave เป็นละลอกขึ้นล้ำหน้าเศษซาก การล้ำไปข้างหน้า ของคลื่นแบบทันที่ทันใด จึงเกิดการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่ ในความกดดันและอุณหภูมิ ที่อยู่ด้านหลัง Shock wave เหตุจาก Shock wave เคลื่อนตัวไปข้างหน้าและด้านหลังตามติดมาอีก ยิ่งเป็นการเร่งปฎิริยาของอนุภาค Electrons และอนุภาคอื่นๆมีพลังงานอย่างสุดขั้ว Electrons หมุนติ้วรอบสนามแม่เหล็ก ด้านหลัง Shock wave ก่อการแผ่คลื่นรังสี เป็นแถบกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Supernova remnants จึงเป็นเป้าเด่นของ Radio wavelengths จากสำรวจด้วยกล้อง Radio telescopes |
| ||
| ||
| ||
| ||
| ||
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น