Solar wind effect : กรณีผลกระทบจากพายุสุริยะ |
| ||
สนามแม่เหล็กโลกปกป้องเรา ขณะพายุสุริยะพัดเข้ามา |
พายุสุริยะ ลักษณะเป็นเปลวไฟขนาดใหญ่พัดปะทะโลกอย่างรุนแรง แล้วผ่านไปถึงดาวพฤหัสได้ |
| ||
มหาสมุทรเป็นบริเวณสะสมและถ่ายทอดรังสี ภูเขาน้ำแข็งจากขั้วโลกเหนือลอยสู่มหาสุมทร ด้านขั้วโลกใต้ จากสภาวะโลกร้อน (เฮลิคอปเตอร์กลุ่มกรีนพีซ บินสำรวจเทียบกับภูเขาน้ำแข็ง) |
อุณหภูมิพื้นผิวมหาสมุทร (สีส้ม สีเหลือง) มีความร้อนสูงในพื้นที่วงกว้างมาก |
| ||
แสดงการตรวจความเร็ว พายุสุริยะค่าความเร็ว เป็น Km/s โดยสถาบัน SOHO |
| ||
| ||
| ||
แสงออรอร่าเกิดจากอนุภาคมากับ พายุสุริยะ |
| ||
ความเป็นไปได้ : แน่นอนที่สุดมีการเกิดทุกๆ 11 ปี เพียงระยะสั้นๆ หากยังลดปัญหาสภาวะปฏิกิริยา เรือนกระจกไม่ได้ผล จะเป็นการเร่งโอกาสเกิดแบบถาวรและรุนแรง มีแนวโน้มสูง ขึ้นตามลำดับ ในระยะ 1,000 - 2,000 ปี ประการแรกมนุษย์จะประสบปัญหาในการสื่อสารต่างๆทำให้โลกชะงักไปแล้ว อันดับต่อมา ห่วงโซ่ระบบต่างๆของมนุษย์และสัตว์เกิดปัญหาใหญ่ด้วยการสะสม รังสีในระบบร่างกายที่ได้รับจาก น้ำ อาหาร โรคชนิดใหม่อาจเกิดขึ้น เช่น ภูมิแพ้ รังสี ภูมิแพ้แสงดวงอาทิตย์ ปัจจัยที่ยิ่งใหญ่คือ ผลกระทบต่อสนามแม่เหล็กโลก เชื่อว่ามีความเป็นไปได้ของ การส่งผลสลับทิศทางขั้วโลก สถิติโลกสลับขั้วเฉลี่ยจะเกิดทุก 600,000 ปี จาก โลกกำเนิดมาแล้ว 4.6 พันล้านปี การสลับขั้วโลกครั้งล่าสุดผ่านมาแล้วประมาณ 200,000 ปี การเกิดโลกร้อนมี การละลายของน้ำแข็งขั้วโลก กับเกิดปฏิกิริยาเรือนกระจก สภาพอากาศโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก จะทำให้โลกมีปัญหาการหมุนรอบ ตัวเองช้าจากปริมาณน้ำเพิ่มขึ้น ตามแนวถ่วงของเส้นศูนย์สูตรเป็นองค์ประกอบ เชื่อมโยงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไปสู่ระบบสนามแม่เหล็กโลกให้อ่อนแอลงไปอีก เป็นผลให้การต่อต้านพายุสุริยะ ไม่สมบูรณ์ดังเดิมเหมือนอดีต การแก้ไขเหตุการณ์ : เร่งแก้ไขปฏิกิริยาเรือนกระจก ร่วมมือใช้ทรัพยากรโลกอย่างประหยัดตามความ จำเป็น ดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง หาวิธีต่อต้านรังสี จากพายุสุริยะด้วยวิธี พัฒนาการระบบของมุนษย์โดยหลักธรรมชาต ิอาจจะรอดพ้นวิกฤตดังกล่าวได้ มิฉะนั้นอนาคต ต้องใส่ชุดอวกาศทั้งที่อยู่บนโลก หรือต้องหยุดการเดินทางโดย เครื่องบินอย่างสิ้นเชิง เมื่อโลกในอนาคตมีฤดูพายุสุริยะเกิดขึ้น ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และสังคม : ปัจจุบันโครงการ Soho (จัดตั้งเมื่อปี 1995) เป็นความร่วมมือของ NASA - ESA (European Space Agency) ส่งยานอวกาศเฝ้าระวังและตรวจสภาพผลกระทบ ดวงอาทิตย์กับโลก โดยบันทึกรายงานความเร็ว ความหนาแน่นของพายุสุริยะที่ พัดผ่านตลอด 24 ชั่วโมง ทำการวิเคราะห์ผล ระยะยาวเพื่อเตรียมความพร้อม |
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น